Applied Scientific Instruments Co., Ltd.

บริษัท แอพพลายด์ ไซแอนทิฟิค อินสตรูเม้นท์ส จํากัด

ศูนย์รวมเครื่องมือทดสอบ เครื่องมือวิทยาศาสตร์ เครื่องมือวิเคราะห์ทุกชนิด

 

ติดต่อสอบถาม

ผ่าน LINE ID

@asithailand

 

How Particle Sizer Optimises Your Battery Materials : เครื่องวัดขนาดอนุภาคสามารถช่วยเพิ่มประสิทธิภาพงานวัสดุแบตเตอรี่ได้อย่างไร

หมวดหมู่: ข่าวสาร
 
 

BETTERSIZE 2600

BT2600 คาร์บอนเป็นวัสดุที่นิยมนำมาใช้ผลิตแบตเตอรี่โดยจะส่งผลถึงคุณภาพ โดยที่คาร์บอนแต่ละชนิดจะมีคุณสมบัติที่แตกต่างกัน กราฟไฟต์เป็นตัวเลือกแรกที่ถูกนำมาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการผลิตแบตเตอรี่ การกระจายตัวของอนุภาคเป็นปัจจัยหลักที่จะควบคุมคุณภาพของผลิตภัณฑ์ BT2600 เป็นเครื่องมือที่สามารถตรวจวัดการกระจายของอนุภาคได้หลากหลายและมีควาแม่นยำสูงช่วยให้เพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการผลิตและการวิจัย
images
images
 

 NANOPTIC 90

 

ในอุตสาหกรรมแบตเตอรี่ aperture effects และ surface effects ของวัสดุนาโนมีความสำคัญต่อแบตเตอรี่ เนื่องจากวัสดุนาโนมีพื้นที่ผิวจำเพาะขนาดใหญ่ ดังนั้น การใช้วัสดุนาโนจึงสามารถลด density และ polarization ซึ่งนำไปสู่ปฏิกิริยาทางเคมีไฟฟ้าที่มีประสิทธิภาพ พื้นที่ผิวจำเพาะขนาดใหญ่จะส่งผลต่อประสิทธิภาพของแบตเตอรี่ แม้กล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนจะสามารถจับภาพโครงสร้างของการเกาะกลุ่มของอนุภาค แต่ก็ยากที่จะวิเคราะห์และตรวจจับสารละลายได้เนื่องจากวิธีการเตรียมตัวอย่าง NANOPTIC 90 จึงจำเป็นต่อการใช้งานและแก้ไขปัญหาดังกล่าว
 

PROWDERPRO A1 

Powder PRO A1 ด้วยความต้องการลดขนาดของแบตเตอรี่ให้มีขนาดเล็กลงและยังคงประสิทธิภาพที่ดีขึ้น พารามิเตอร์ที่สำคัญที่จะช่วยให้ประสิทธิภาพดีขึ้นและมีขนาดที่เล็กลงของแบตเตอรี่นั้น จะต้องศึกษาถึง Bulk density, Tapped density, angle of repose และ Flowability index เครื่อง Powder Pro A1 เป็นเครื่องมือที่ทดสอบเกี่ยวกับคุณสมบัติเชิงกายภาพของผงแบบอัตโนมัติ จะเป็นเครื่องมือที่มีขีดความสามารถในการทดสอบเพื่องานนี้ได้

images
 
 
 
 
 
images
 

 BEVISION S1 

 

การควบคุมขนาดอนุภาคสามารถปรับปรุงประสิทธิภาพของแบตเตอรี่ได้ เนื่องจากมีผลต่อการประมวลผลและประสิทธิภาพของแบตเตอรี่ เช่น รูปร่างของอนุภาคมีผลต่อพื้นที่ผิวจำเพาะของวัสดุและคุณสมบัติการไหลของสารละลาย ส่งผลต่อการทำให้เป็นเนื้อเดียวกัน และความหนาแน่นของวัสดุอิเล็กโทรด ซึ่งส่งผลต่อความจุเฉพาะของแบตเตอรี่ แม้ว่ากล้องจุลทรรศน์อิเล็กตรอนจะสามารถวิเคราะห์ทางสัณฐานวิทยา แต่ก็คงติดปัญหาในการวิเคราะห์ เช่น ไม่สามารถวัดสารละลายได้โดยตรง เนื่องจากวิธีการเตรียม และรวมทั้งค่าบำรุงรักษาที่สูง BeVision S1 จึงเป็นตัวเลือกที่เหมาะสมสามารถวิเคราะห์ทั้งเชิงคุณภาพและเชิงปริมาณ
 

23 มีนาคม 2566

ผู้ชม 764 ครั้ง

Engine by shopup.com